เราอาจะเริ่มสังเกตว่าการตื่นนอนเพื่อมาทำงานในตอนเช้าเริ่มกลายเป็นเรื่องยาก
เริ่มถอนหายใจบ่อยครั้งและรู้สึกซังกะตายตอนทำงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
ไม่แน่ว่าเราอาจจะกำลังอยู่ใน “ภาวะ Brownout” ภาวะที่รู้สึกหมดกำลังใจในการทำงาน แต่ก็อยากที่จะทำงานของตัวเองให้ดีที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากกฏเกณฑ์และเหตุผลบางอย่างที่มีอยู่ในองค์กรทำให้รู้สึกเบื่อหนาย เริ่มไม่มีความสุขในการทำงาน เก็บความรู้สึกไม่ดีเอาไว้กับตัวเองจนกลายเป็นความเครียดสะสม
.
ภาวะ Brownout เป็นภาวะระยะเริ่มต้นก่อนที่จะเกิด “ภาวะ Burnout” ที่เราได้ยินกันบ่อยๆ ซึ่งภาวะ Burnout แท้จริงเป็นผลพวงมาจากการรู้สึกที่มีต่อที่ทำงาน เหมือนเป็นหุ่นยนต์ที่มาทำงานในทุกๆ วันแต่กลับไม่รู้สึกไม่มีความสุขเลย เมื่อเกิดขึ้นบ่อยครั้งและถูกทิ้งระยะไว้นานจึงเพิ่มระดับเป็น “Burnout” ที่หมดทั้งใจและหมดทั้งไฟในการทำงาน
.
และก่อนที่เราจะเริ่มแก้ปัญหา เราต้องรู้ก่อนว่า“มันเกิดจากอะไร?” จากกฎระเบียบ เพื่อนร่วมงาน ตำแหน่งงาน หรือหัวหน้างาน เมื่อเรารู้เรารู้สาเหตุแล้วเราก็สามารถรับมือกับภาวะนี้ได้ โดยอาศัยความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในการประสานความเข้าใจ
และการแก้ไขในองค์กร ซึ่งอาจไม่ต้องเป็นคนเริ่มเสียด้วยซ้ำหากมีคนที่ตกอยู่ในภาวะเดียวกันหลายๆ คนแน่นอนว่าองค์กรจะต้องสังเกตเห็นและรู้สึกได้อย่างแน่นอน
.
แต่หากอยากรับมือด้วยตัวเองก็คงต้องลองดูว่า “เป้าหมาย” ที่เรายังอยู่ หรือ “ความตั้งใจแรก” ที่เราเข้ามาทำงานคืออะไร ? ถ้าหากเหตุผลเหล่านี้ยังมีน้ำหนักมาพอที่จะทำให้เราจะสร้างความสุขให้กับตัวเองได้ การที่เราจะเลือกมองแค่ในมุมนี้ก็คงไม่เสียหายอะไร แต่หากเรารู้สึกว่าไม่สามารถรับมือกับความรู้สึกนี้ได้แล้วการเลือกจากเดินไปก็เป็นเรื่องที่ยอมรับได้เช่นเดียวกัน
.
สุขภาพจิตใจของเราเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเมื่อถึงเวลาที่ความรู้สึกพังมีแค่เราที่ต้องซ่อมมันเอง
เราอาจะเริ่มสังเกตว่าการตื่นนอนเพื่อมาทำงานในตอนเช้าเริ่มกลายเป็นเรื่องยาก
เริ่มถอนหายใจบ่อยครั้งและรู้สึกซังกะตายตอนทำงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
.
ไม่แน่ว่าเราอาจจะกำลังอยู่ใน “ภาวะ Brownout” ภาวะที่รู้สึกหมดกำลังใจในการทำงาน แต่ก็อยากที่จะทำงานของตัวเองให้ดีที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากกฏเกณฑ์และเหตุผลบางอย่างที่มีอยู่ในองค์กรทำให้รู้สึกเบื่อหนาย เริ่มไม่มีความสุขในการทำงาน เก็บความรู้สึกไม่ดีเอาไว้กับตัวเองจนกลายเป็นความเครียดสะสม
.
ภาวะ Brownout เป็นภาวะระยะเริ่มต้นก่อนที่จะเกิด “ภาวะ Burnout” ที่เราได้ยินกันบ่อยๆ ซึ่งภาวะ Burnout แท้จริงเป็นผลพวงมาจากการรู้สึกที่มีต่อที่ทำงาน เหมือนเป็นหุ่นยนต์ที่มาทำงานในทุกๆ วันแต่กลับไม่รู้สึกไม่มีความสุขเลย เมื่อเกิดขึ้นบ่อยครั้งและถูกทิ้งระยะไว้นานจึงเพิ่มระดับเป็น “Burnout” ที่หมดทั้งใจและหมดทั้งไฟในการทำงาน
.
และก่อนที่เราจะเริ่มแก้ปัญหา เราต้องรู้ก่อนว่า“มันเกิดจากอะไร?” จากกฎระเบียบ เพื่อนร่วมงาน ตำแหน่งงาน หรือหัวหน้างาน เมื่อเรารู้เรารู้สาเหตุแล้วเราก็สามารถรับมือกับภาวะนี้ได้ โดยอาศัยความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในการประสานความเข้าใจและการแก้ไขในองค์กร ซึ่งอาจไม่ต้องเป็นคนเริ่มเสียด้วยซ้ำหากมีคนที่ตกอยู่ในภาวะเดียวกันหลายๆ คนแน่นอนว่าองค์กรจะต้องสังเกตเห็นและรู้สึกได้อย่างแน่นอน
.
แต่หากอยากรับมือด้วยตัวเองก็คงต้องลองดูว่า “เป้าหมาย” ที่เรายังอยู่ หรือ “ความตั้งใจแรก” ที่เราเข้ามาทำงานคืออะไร ? ถ้าหากเหตุผลเหล่านี้ยังมีน้ำหนักมาพอที่จะทำให้เราจะสร้างความสุขให้กับตัวเองได้ การที่เราจะเลือกมองแค่ในมุมนี้ก็คงไม่เสียหายอะไร แต่หากเรารู้สึกว่าไม่สามารถรับมือกับความรู้สึกนี้ได้แล้วการเลือกจากเดินไปก็เป็นเรื่องที่ยอมรับได้เช่นเดียวกัน
.
สุขภาพจิตใจของเราเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเมื่อถึงเวลาที่ความรู้สึกพังมีแค่เราที่ต้องซ่อมมันเองเราอาจะเริ่มสังเกตว่าการตื่นนอนเพื่อมาทำงานในตอนเช้าเริ่มกลายเป็นเรื่องยาก
เริ่มถอนหายใจบ่อยครั้งและรู้สึกซังกะตายตอนทำงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
.
ไม่แน่ว่าเราอาจจะกำลังอยู่ใน “ภาวะ Brownout” ภาวะที่รู้สึกหมดกำลังใจในการทำงาน แต่ก็อยากที่จะทำงานของตัวเองให้ดีที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากกฏเกณฑ์และเหตุผลบางอย่างที่มีอยู่ในองค์กรทำให้รู้สึกเบื่อหนาย เริ่มไม่มีความสุขในการทำงาน เก็บความรู้สึกไม่ดีเอาไว้กับตัวเองจนกลายเป็นความเครียดสะสม
.
ภาวะ Brownout เป็นภาวะระยะเริ่มต้นก่อนที่จะเกิด “ภาวะ Burnout” ที่เราได้ยินกันบ่อยๆ ซึ่งภาวะ Burnout แท้จริงเป็นผลพวงมาจากการรู้สึกที่มีต่อที่ทำงาน เหมือนเป็นหุ่นยนต์ที่มาทำงานในทุกๆ วันแต่กลับไม่รู้สึกไม่มีความสุขเลย เมื่อเกิดขึ้นบ่อยครั้งและถูกทิ้งระยะไว้นานจึงเพิ่มระดับเป็น “Burnout” ที่หมดทั้งใจและหมดทั้งไฟในการทำงาน
.
และก่อนที่เราจะเริ่มแก้ปัญหา เราต้องรู้ก่อนว่า“มันเกิดจากอะไร?” จากกฎระเบียบ เพื่อนร่วมงาน ตำแหน่งงาน หรือหัวหน้างาน เมื่อเรารู้เรารู้สาเหตุแล้วเราก็สามารถรับมือกับภาวะนี้ได้ โดยอาศัยความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในการประสานความเข้าใจ
และการแก้ไขในองค์กร ซึ่งอาจไม่ต้องเป็นคนเริ่มเสียด้วยซ้ำหากมีคนที่ตกอยู่ในภาวะเดียวกันหลายๆ คนแน่นอนว่าองค์กรจะต้องสังเกตเห็นและรู้สึกได้อย่างแน่นอน
.
แต่หากอยากรับมือด้วยตัวเองก็คงต้องลองดูว่า “เป้าหมาย” ที่เรายังอยู่ หรือ “ความตั้งใจแรก” ที่เราเข้ามาทำงานคืออะไร ? ถ้าหากเหตุผลเหล่านี้ยังมีน้ำหนักมาพอที่จะทำให้เราจะสร้างความสุขให้กับตัวเองได้ การที่เราจะเลือกมองแค่ในมุมนี้ก็คงไม่เสียหายอะไร แต่หากเรารู้สึกว่าไม่สามารถรับมือกับความรู้สึกนี้ได้แล้วการเลือกจากเดินไปก็เป็นเรื่องที่ยอมรับได้เช่นเดียวกัน
.
สุขภาพจิตใจของเราเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเมื่อถึงเวลาที่ความรู้สึกพังมีแค่เราที่ต้องซ่อมมันเองเราอาจะเริ่มสังเกตว่าการตื่นนอนเพื่อมาทำงานในตอนเช้าเริ่มกลายเป็นเรื่องยาก
เริ่มถอนหายใจบ่อยครั้งและรู้สึกซังกะตายตอนทำงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
.
ไม่แน่ว่าเราอาจจะกำลังอยู่ใน “ภาวะ Brownout” ภาวะที่รู้สึกหมดกำลังใจในการทำงาน แต่ก็อยากที่จะทำงานของตัวเองให้ดีที่สุด ซึ่งอาจจะเกิดจากกฏเกณฑ์และเหตุผลบางอย่างที่มีอยู่ในองค์กรทำให้รู้สึกเบื่อหนาย เริ่มไม่มีความสุขในการทำงาน เก็บความรู้สึกไม่ดีเอาไว้กับตัวเองจนกลายเป็นความเครียดสะสม
.
ภาวะ Brownout เป็นภาวะระยะเริ่มต้นก่อนที่จะเกิด “ภาวะ Burnout” ที่เราได้ยินกันบ่อยๆ ซึ่งภาวะ Burnout แท้จริงเป็นผลพวงมาจากการรู้สึกที่มีต่อที่ทำงาน เหมือนเป็นหุ่นยนต์ที่มาทำงานในทุกๆ วันแต่กลับไม่รู้สึกไม่มีความสุขเลย เมื่อเกิดขึ้นบ่อยครั้งและถูกทิ้งระยะไว้นานจึงเพิ่มระดับเป็น “Burnout” ที่หมดทั้งใจและหมดทั้งไฟในการทำงาน
.
และก่อนที่เราจะเริ่มแก้ปัญหา เราต้องรู้ก่อนว่า“มันเกิดจากอะไร?” จากกฎระเบียบ เพื่อนร่วมงาน ตำแหน่งงาน หรือหัวหน้างาน เมื่อเรารู้เรารู้สาเหตุแล้วเราก็สามารถรับมือกับภาวะนี้ได้ โดยอาศัยความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายในการประสานความเข้าใจ
และการแก้ไขในองค์กร ซึ่งอาจไม่ต้องเป็นคนเริ่มเสียด้วยซ้ำหากมีคนที่ตกอยู่ในภาวะเดียวกันหลายๆ คนแน่นอนว่าองค์กรจะต้องสังเกตเห็นและรู้สึกได้อย่างแน่นอน
.
แต่หากอยากรับมือด้วยตัวเองก็คงต้องลองดูว่า “เป้าหมาย” ที่เรายังอยู่ หรือ “ความตั้งใจแรก” ที่เราเข้ามาทำงานคืออะไร ? ถ้าหากเหตุผลเหล่านี้ยังมีน้ำหนักมาพอที่จะทำให้เราจะสร้างความสุขให้กับตัวเองได้ การที่เราจะเลือกมองแค่ในมุมนี้ก็คงไม่เสียหายอะไร แต่หากเรารู้สึกว่าไม่สามารถรับมือกับความรู้สึกนี้ได้แล้วการเลือกจากเดินไปก็เป็นเรื่องที่ยอมรับได้เช่นเดียวกัน
.
สุขภาพจิตใจของเราเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเมื่อถึงเวลาที่ความรู้สึกพังมีแค่เราที่ต้องซ่อมมันเอง
Recent Comments