ถ้าหลอกตัวเองไปเรื่อยๆว่า “มีความสุข” จะมีความสุขจริงๆไหม ?
คำถาม: ถ้าหลอกตัวเองว่ามีความสุขเรื่อยๆ จะมีความสุขจริงๆไหม
คำถาม: ถ้าหลอกตัวเองว่ามีความสุขเรื่อยๆ จะมีความสุขจริงๆไหม
เป็นที่ทราบกันดีว่าในวัยเด็กนั้นเด็กหลายคนอาจจะมีปมจากการถูกกลั่นแกล้ง รวมทั้งการถูกทารุณกรรมทางร่างกายและจิตใจ ไม่ว่าเหตุจะเป็นจากรูปร่างหน้าตาที่แตกต่าง เช่น น้ำหนัก สีผิว ความสูง หน้าตา หรือมีปัญหาทางพัฒนาการ ปัญหาการเรียน เช่นซนสมาธิสั้น ปัญหาการเรียนรู้ช้าในบางวิชา
วันนี้อยากพาทุกท่านมารู้จักกับความคาดหวังกัน ความคาดหวังหรือความต้องการ (Want) เป็นสิ่งที่เราต้องการให้เกิดขึ้น เพื่อตอบสนองต่อความต้องการจำเป็นที่อยู่ในส่วนลึกในใจของเรา (Need) ความต้องการจำเป็นเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เป็นอาหารใจ เช่น ความรัก การยอมรับ ความเป็นอิสระ การเป็นส่วนหนึ่ง การเชื่อมโยงความสำเร็จ เมื่อเราปรารถนาได้รับความรัก จะส่งผลต่อความคาดหวังในแบบต่าง ๆ เราอยากให้พ่อแม่แสดงความรักต่อเรา เมื่อเราต้องการอิสระ เราจึงคาดหวังว่าพ่อแม่ควรจะปล่อยให้ทำอะไรด้วยตนเองบ้าง เราต้องการการยอมรับ เราจึงคาดหวังต่อตนเองว่าเราต้องสอบได้คะแนนดี ๆ สอบเรียนต่อได้ในคณะที่มีชื่อเสียง เป็นต้น
Relationship Ambivalence เราควรจะเลิกกันไหม หรือเลิกแล้วจะ regret หรือเปล่า
.
หลายคนคิดวนกับคำถามนี้ในใจ จะหยุดคิดก็หยุดไม่ได้ วันนี้เรามาทำความรู้จักและเข้าใจสถานะความไม่สบายใจนี้กันครับ
.
Relationship Ambivalence คือ ความสัมพันธ์ที่เรารู้สึกสับสน ปนความไม่แน่นอนในใจ คำว่า “Ambivalence” นิยามถึงประสบการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ทางจิตวิทยาเมื่อด้านบวกและลบของเรื่องราวในปัจจุบันในใจของเรานั้น เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ความคิดความรู้สึกผสมนี้เกิดขึ้นพร้อมๆกัน เช่น รักจะไปไหวไหม เราควรเลิกกัน แต่ถ้าเลิกลาก็กลัวการถูกทอดทิ้ง เลิกแล้วจะ regret หรือเปล่า เมื่อคุณยังคงติดอยู่ในสถานะที่ไม่สบายใจนี้ เป็นยากที่จะสร้างความสัมพันธ์ต่อเนื่อง และยั่งยืน
#โรคสมาธิสั้นในวัยรุ่นและผู้ใหญ่
.
เชื่อว่าวัยรุ่นและผู้ใหญ่หลายๆคน ที่กำลัง work from home คงกำลังประสบกับปัญหาในการเรียนและการทำงานที่ไม่สามารถจดจ่อได้ทำงานไม่เสร็จ ทำงานไม่เป็นระเบียบ ทำงานได้ช้าลง จนถูกคนตำหนิ ถูกตราหน้าว่าเป็นคนไม่รับผิดชอบ เป็นคนทำงานลวกๆเป็นคนชุ่ย #ทั้งที่ตั้งใจอย่างเต็มที่แล้ว กลับไม่เป็นตามที่ตั้งใจ จนส่งผลกระทบต่อการเรียนและการทำงาน ปัญหาเหล่านี้พบได้ถึง 4 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ในวัยผู้ใหญ่ ซึ่งไม่ได้เกิดจากความไม่รับผิดชอบ แต่เกิดจากโรคสมาธิสั้นโดยที่ไม่รู้ตัว นั่นเอง
ใจที่เติมเท่าไหร่ก็ไม่เต็ม รู้สึกขาดและไม่พอ ตามหาเท่าไหร่ก็ไม่มีวันสิ้นสุด
ผู้คนแสวงหาความสำเร็จ ความร่ำรวย ความรัก และการยอมรับ แต่การสะสมมากจนเกินความพอดี และในบางทีก็อาจจะเกิดจาก “กระบวนการคิดที่มีปัญหา” การขาดแคลนอาจไม่ได้เกิดจากการได้รับไม่เพียงพอ แต่เป็นเพราะ “ภาชนะหรือใจ” ที่กักเก็บความรู้สึกเหล่านั้น “มีรูรั่ว” จึงต้องหามาเติมตลอดเวลา รู้สึกดีได้แค่ชั่วคราว แม้เก็บจนมีมากกว่าทุกคนแล้วตัวเราเองก็ยังรู้สึกขาด
#เด็กที่มีปัญหาการเรียน #คุณช่วยได้ถ้าเข้าใจ
“คุณครูจ๋า พ่อแม่จ๋า หนูไม่ได้โง่ ไม่ใช่เด็กไม่รับผิดชอบ หนูไม่ได้จงใจดื้อที่ทำการบ้านไม่ได้ หนูพยายามแล้ว หนูอยากเก่งขึ้น อย่าดุด่าหนู ช่วยเข้าใจหนูที”
หลายคนคงตั้งคำถามและคิดอยู่บ้างว่า “การพูดคุยกับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยา แตกต่างจากการปรึกษาคนใกล้ตัวยังไง ?” เพราะหลายเรื่องที่เราทุกข์ใจการเล่าให้เพื่อนสนิทหรือครอบครัวฟังก็น่าจะโอเคแล้ว ทำไมถึงต้องไปเล่าให้คนอื่นฟังแถมยังเสียเงินด้วย
4 วิธีดูแลความรัก ระหว่างเก็บตัวอยู่บ้านกับคู่ของคุณ (เรียบเรียงโดย กอบุญ เกล้าตะกาญจน์)
ความเครียดที่เกิดจากการระบาดโควิด-19 ก็มากพออยู่แล้ว เวลาที่คุณอยู่กับคู่ของคุณนานๆ อาจเกิดความเครียดได้เช่นกัน มาเรียนรู้วิธีการที่ช่วยรักษาความสัมพันธ์เมื่อต้องติดอยู่ในห้องเล็กๆ ด้วยกัน
ตอนนี้ทุกคนกำลังอยู่ในช่วงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เข้ากับ Covid-19 เพื่อรักษาสุขภาพกายของตัวเอง แต่ในขณะเดียวกันเราก็ต้องเป็นมิตรกับใจของเราด้วย วันนี้อูก้าได้จิตแพทย์ใจดีมาแนะนำแนวทางดูแลหัวใจยังไงให้ผ่านช่วง Covid19 ไปได้อย่างมีความสุข มาดูกัน
Recent Comments