ทำไมเราถึงควรลองปรึกษาจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาสักครั้งนึง ?
การพูดคุยกับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาในความเข้าใจของใครหลายคนต้องมีเหตุจำเป็นเท่านั้นถึงมีความรู้สึกว่าควรเข้าพบได้แล้วนะและส่วนมากก็มักจะเป็นเรื่องใหญ่โตที่บางทีก็เกือบจะสายเกินแก้
การพูดคุยกับจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาในความเข้าใจของใครหลายคนต้องมีเหตุจำเป็นเท่านั้นถึงมีความรู้สึกว่าควรเข้าพบได้แล้วนะและส่วนมากก็มักจะเป็นเรื่องใหญ่โตที่บางทีก็เกือบจะสายเกินแก้
เราอาจะเริ่มสังเกตว่าการตื่นนอนเพื่อมาทำงานในตอนเช้าเริ่มกลายเป็นเรื่องยาก
เริ่มถอนหายใจบ่อยครั้งและรู้สึกซังกะตายตอนทำงานอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
ภาพความทรงจำที่ค่อยๆ หลั่งไหลเข้ามาเหมือนก๊อกน้ำ ในขณะที่เราพยายามจะปิด มันกลับพังไปต่อหน้าต่อตาเสียอย่างนั้น #ความรู้สึกหวาดกลัว และลมหายใจที่แขวนอยู่บนเส้นด้าย ค่อยๆ ย้อนกลับเข้ามา #โดยที่เราไม่สามารถควบคุมมันได้เลย
1. คนที่คุณรักต้องการความช่วยเหลือแต่อาจกลัว การตีตรา (Stigma)
เมื่อได้ยินคำว่า จิตแพทย์นักจิต คิดว่าจะถูกใครๆตัดสินว่าผิดปกติหรือไม่ ดังนั้นจำเป็นที่จะใช้ภาษาที่ไม่ตัดสินเมื่อพูดคุยและบอกเค้าว่า ความทุกข์ใจเป็นสิ่งที่เกิดได้กับทุกคน การคุยปรึกษาจึงเป็นเรื่องปกติไม่ได้เป็นเรื่องแปลกแต่อย่างใด ทั้งสามารถพูดคุยเรื่องดีๆในการพัฒนาตนเองด้านต่างๆได้อีกด้วย
หลายคนคงรู้สึกตะขิดตะขวงใจที่ต้องตอบคำถามว่าตัวเองเป็น “Extrovert” หรือ “Introvert ” กันแน่? ลองคิดว่าตัวเองเป็นสายสุดเหวี่ยง ชอบปาร์ตี้รักการเจอคนมากหน้าหลายตาแบบ Extrovert ก็คงมากไป แต่ถ้าจะเก็บตัวเงียบในห้อง ไม่ค่อยออกมาเฮฮากับคนอื่น ๆ แบบ Introvert ก็รู้สึกว่าไม่ใช่อีก ไม่ต้องตกใจไปว่าเราเป็นอะไรกันแน่ ? เพราะยังมีอีกบุคลิกที่จะตอบโจทย์ทุกความรู้สึกของเราอยู่
ในช่วงเวลาที่ผ่านมาหลายคนคงเห็นคำว่า “ไบโพลาร์” ผ่านตากันบ่อยครั้ง คำดังกล่าวมาจากโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่งที่คนเข้าใจในภาพรวมว่าเป็นคนที่เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เดี๋ยวดีใจเสียใจสลับกันไปมาซึ่งก็ถือว่าเป็นความเข้าใจที่ไม่ผิด
เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ทุกคนเคยเจอ และก็คงรู้สึกหัวเสียไม่น้อยที่ต้องตั้งคำถามอย่างโกรธเคืองว่าทำไมบางคนถึง “ไม่รู้สึกผิดกันบ้างเลย” การกระทำบางอย่างเรียกว่ามองจากดาวอังคารยังรู้เลยว่าทำผิด ไม่ต้องใช้ความคิดที่ซับซ้อนก็ควรรู้ได้โดยทันทีว่าสิ่งที่ทำลงไปมันผิด
“Dead inside” ไม่ว่าเรื่องอะไรก็ไม่เป็นไร จะเจอเป็นเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญ่ก็ยอมรับมันไปจะได้จบๆ ไม่โกรธ ไม่เสียใจ ความรู้สึก “ชินชา” ที่จะเรื่องอะไรก็เข้ามาเถอะ
.
ในช่วงเวลาที่เรื่องแย่ๆ วิ่งเข้ามาหาเราอย่างไม่หยุดหย่อน ตัวเรายังคงอยู่ ณ ปัจจุบัน แต่เป็นแค่ “กายหยาบ” ทีไม่รู้สึกหรือตอบสนองอะไรแล้ว ช่วงเวลาที่เรารู้สึกอย่างนั้นเป็นเพราะเรากำลัง “เอาตัวรอด” จากบางสิ่งอย่างอยู่ แต่ไม่ใช่เป็นการต่อสู้เพื่อให้รอด
แต่เป็นการนิ่งเฉยและจำยอมกับมัน แม้ตัวเราจะรู้สึกไม่เห็นด้วย หรือไม่อยากทำก็ตาม
“หวังว่าคืนนี้นอนแล้ว คงไม่ตื่นมาอีกเลย”
.
นี่คงเป็นสิ่งที่หลายๆคนคิดในช่วงที่ดิ่งมากๆจนอยากให้มันจบลง แต่ทว่าไม่มีความคิดที่จะจบชีวิตตัวเองทันที คือคิดเอาไว้นะ แต่ยังไม่ได้ทำ เพราะความจริงลึกๆแล้ว บางคนไม่ได้อยากตายหรอก…เขาแค่ไม่อยากอยู่กับความทรมานอีกต่อไป ซึ่งมันเป็นการแสดงออกว่าจริงๆแล้วเขากำลังเจ็บปวดอยู่มากแค่ไหน
Recent Comments